เรื่องน่ารู้เกี่ยวกับไฟล์เพลง
เรื่องนี้จะเขียนเร็วๆ นะครับ เลยไม่ได้แปลเนื้อหาจากพวก wiki มาประกอบด้วย
ไฟล์ เพลงที่ฟังๆ กันอยู่มีมากมายหลายประเภทนะครับ แม้ว่าปัจจุบันโปรแกรมแปลงต่างๆ จะมีมากมาย แต่ผู้ใช้ก็ควรรู้เรื่องเกี่ยวกับไฟล์ประเภทต่างๆ ไว้ซักนิดนะครับ
ไฟล์เพลงสามารถแยกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภทนะครับ
ประเภทแรก Lossless file
คือไฟล์ที่ไม่มีการเสียข้อมูลใดๆ ไปเลย เช่น Wav, WavPack, FLAC, Monkey
ประเภทที่สองคือ Lossy file
คือไฟล์ที่มีการบีบอัดแล้วเสียข้อมูลไปบ้าง เช่น MP3, MP4, AAC, OGG, WMA
จะขออธิบายเรื่องเกี่ยวกับการบีบอัดนิดหน่อยนะครับ
เสียงที่คนเราฟังได้จะอยู่ในช่วง 20 - 20000 Hz ครับ
เด็กทารกจะได้ยินเสียงเหล่านี้ครบถ้วน พอโตๆ ขึ้น ความสามารถในการรับเสียงจะค่อยๆ ลดลง
คนทั่วๆ ไปส่วนใหญ่จะรับเสียงได้ถึงประมาณ 15000 Hz หลังจากนั้นจะค่อยๆ เบาลงครับ
ส่วนเสียงความถี่ต่ำ ผมจำค่าไม่ได้แล้ว
ปล. ส่วนนี้เกี่ยวกับลำโพงด้วย ว่าสามารถเล่นเสียงได้แค่ไหน ลำโพงทั่วๆ ไปจะเล่นได้ไม่ถึง 20 - 20000 Hz
Lossy file จะใช้ความรู้เรื่องนี้ในการบีบอัดเสียงด้วย คือมันจะลดปริมาณข้อมูล (ก็คือทิ้งข้อมูลไปบ้าง) ในช่วงประมาณ 15000 Hz (จุดนี้แล้วแต่ kbps ที่บีบอัดด้วย ถ้าใช้ bit rate มาก ก็จะทิ้งข้อมูลน้อย) ซึ่งทำงานโดยใช้ Model ของเสียงที่เป้นมาตรฐานของไฟล์ format ต่างๆ
แล้วก็จะลดข้อมูลในเสียงที่ไม่ค่อยได้ยิน เช่นเสียงที่โดนเสียงอื่นกลบทับ
เรามาว่าด้วยรายละเอียดคร่าวๆ ของ lossy file ต่างๆ ดีก่าคับ (ผมก็รู้ไม่ค่อยละเอียดเชิงลึก)
MP3
ใช้กันมาสิบกว่าปีแล้ว พัฒนาโดยสถาบันวิจัยของเยอรมัน เป็นลักษณะการบับอัดเสียงชนิดแรกที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั่วโลก
ปัจจุบัน ความสามารถน้อยกว่าไฟล์อื่นๆ ที่เกิดที่หลัง แต่ยังนิยม เพราะอุปกรณ์ส่วนใหญ่เล่นได้
ต่อมาพัฒนาเป็น MP3pro แต่ไม่ได้รับความนิยม เพราะค่าใช้สิทธิ์แพง
ปล. mp3 เป็นไฟล์ที่มีค่าใช้จ่ายในการใช้สิทธ์นะครับ
โปรแกรมเข้ารหัสไฟล์ MP3 ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ LAME
โปรแกรมหลายๆ ตัว ใช้ LAME เป็นโปรแกรมเข้ารหัส MP3 ให้ เช่น flash, dB poweramp
OGG
ไฟล์เพลงที่ผมใช้เป้นหลัก เหอๆ กว่าพันเพลงในเครื่องเป็นไฟล์นี้
พัฒนาโดยกลุ่มพัฒนาอิสระ ในนาม Vorbis เกิดขึ้นเมื่อไม่กี่ปีมานี้
ลักษณะ พิเศษคือเป็นไฟล์ที่เปิดให้ใช้ได้อย่างฟรีจริงๆ ใครเอาไปใช้ก็ได้ (จะให้ได้ว่าเกมส่วนใหญ่ใช้ไฟล์นี้เป้นเพลงในเกม) และให้คุณภาพเสียงที่ดี ใน bit rate ที่ต่ำกว่า mp3
เครื่องเล่น mp3 บางชนิดจะเล่นไฟล์นี้ได้
ตอนนี้ก็ยังพัฒนาต่อเรื่อยๆ โดยได้รับการปรับปรุงโค้ดตอนนี้โดยนักพัฒนาชาวญี่ปุ่นในนาม
Ogg aoTuV (ตอนนี้ถึง Beta5 แล้ว) ซึ่งทำให้เสียงดียิ่งขึ้นใน bit rate ต่ำๆ
WMA
Windows Media Audio
พัฒนาโดย microsoft ตอนนี้มาถึงรุ่น 9.2 ที่มาใน Windows media player 11 ครับ
จุดเด่นคือเสียงดีกว่า mp3 และมีระบบป้องกันลิขสิทธิ์ (DRM) จาก microsoft
แต่ผมไม่ชอบ เพราะมันไม่ฟรี และเล่นอะไรไม่ค่อยได้ เพราะมักจะถูกล็อกอยู่
AAC
Advance Audio Codec
หรือ MP4 ครับ เป้นาตรฐานที่ผมยังงงๆ เพราะมีมาตรฐานย่อยๆ เยอะ มีทั้ง HC และ LC ฯลฯ
Apple ใช้กับ iPod ครับ เพราะทางร้านขายเพลง iTune
เสียงดีครับ (รู้แค่นี้)
ไฟล์ Lossless บ้าง
WAV
ไฟล์มาตรฐาน ตั้งเดิม เก็บข้อมูลทุกอย่างของเสียงไว้ ไม่มีการบีบอัด ทำให้เสียงดี และไฟล์ใหญ่มากกกกกก
FLAC
Free Lossless Audio Codec
เป้นไฟล์ lossless ฟรี ชั้นดีตัวหนึ่ง ทำงานได้รวดเร็ว บีบอัดข้อมูลได้เยอะพอสมควร
บับเพลงจาก CD จะได้ bitrate ราวๆ 400 kbps กว่าๆ (ถ้า wav ใช้ที่ราวๆ 1411 kbps)
เสียงสมบูรณ์เหมือนเดิม แต่ขนาดเล็กลงมาก
ผมแนะนำให้ใช้แทนบีบเป็น MP3 ที่ 320 kbps ครับ เหอๆ
WavPack (.wv)
คล้ายๆ กับ FLAC แต่มีความสามารถต่างกันนิดหน่อย เช่น hybrid file, lossy with correction
ผมจะไม่อธิบายนะครับ เพราะความสามารถใกล้ๆ กับ FLAC
อธิบายคำศัพท์
kbps
kilobit per second
จำนวนบิตที่ส่งต่อ 1 วินาที
ยิ่งมาก ไฟล์ยิ่งใหญ่ เสียงยิ่งดี
CBR
Constant bit rate
จะเห็นได้ตอนแปลงไฟล์ครับ ก็คือใช้ bit rate คงที่ตลอดเวลา ไม่ว่าเสียงจะมีความซับซ้อนแค่ไหน
ข้อดีคือ ทำให้คำนวณพื้นที่ที่จะใช้ได้ง่ายครับ
VBR
Variable bit rate
bit rate แปรผัน ตรงข้ามกับ CBR ครับ
bit rate จะแปรผันกับความซับซ้อนของเสียง เช่นช่วงที่ไม่มีเสียง ก็จะใช้ bit rate ต่ำสุด
ผลก็คือใช้ bit rate ได้คุ้มค่ากว่าครับ
ไฟล์อย่าง ogg จะไม่มี CBR ให้เลือก เพราะมันรู้ดีกว่า VBR ดีกว่า เหอๆ
ReplayGain
เทคโนโลยีที่ช่วยปรับเสียงของทุกเพลงให้เท่ากัน
การจะเล่นไฟล์ต่างๆ ที่ว่ามา ถ้าใช้ windows media player ก็จะเล่นได้แค่ mp3, wma และอื่นๆ อีกนิดหน่อย
ถ้าอยากใช้ Media player เล่นไฟล์พวกนี้ ก็ต้องลงพวก k-lite codec pack ครับ
แต่มีทางเลือกที่ดีกว่านั้นเช่น foobar2000 โปรแกรมเล่นเพลงหน้าตาเรียบๆ ที่มีความสามารถที่ผู้คลั่งเสียงเพลงต้องหันมองเช่น
ReplayGain , แก้ไข tag เพลงได้หลายเพลง, แปลงไฟล์, เล่นไฟล์เพลงได้สารพัด
www.foobar2000.org
ถ้าอยากได้ตัว encoder ไฟล์เป็นแบบต่างๆ ก็ไปดูที่
http://www.rarewares.org/
ครับ
วันนี้รีบๆ มีอะไรตกหล่นก็ขออภัยด้วยนะครับ
ไฟล์ เพลงที่ฟังๆ กันอยู่มีมากมายหลายประเภทนะครับ แม้ว่าปัจจุบันโปรแกรมแปลงต่างๆ จะมีมากมาย แต่ผู้ใช้ก็ควรรู้เรื่องเกี่ยวกับไฟล์ประเภทต่างๆ ไว้ซักนิดนะครับ
ไฟล์เพลงสามารถแยกเป็นประเภทใหญ่ๆ ได้ 2 ประเภทนะครับ
ประเภทแรก Lossless file
คือไฟล์ที่ไม่มีการเสียข้อมูลใดๆ ไปเลย เช่น Wav, WavPack, FLAC, Monkey
ประเภทที่สองคือ Lossy file
คือไฟล์ที่มีการบีบอัดแล้วเสียข้อมูลไปบ้าง เช่น MP3, MP4, AAC, OGG, WMA
จะขออธิบายเรื่องเกี่ยวกับการบีบอัดนิดหน่อยนะครับ
เสียงที่คนเราฟังได้จะอยู่ในช่วง 20 - 20000 Hz ครับ
เด็กทารกจะได้ยินเสียงเหล่านี้ครบถ้วน พอโตๆ ขึ้น ความสามารถในการรับเสียงจะค่อยๆ ลดลง
คนทั่วๆ ไปส่วนใหญ่จะรับเสียงได้ถึงประมาณ 15000 Hz หลังจากนั้นจะค่อยๆ เบาลงครับ
ส่วนเสียงความถี่ต่ำ ผมจำค่าไม่ได้แล้ว
ปล. ส่วนนี้เกี่ยวกับลำโพงด้วย ว่าสามารถเล่นเสียงได้แค่ไหน ลำโพงทั่วๆ ไปจะเล่นได้ไม่ถึง 20 - 20000 Hz
Lossy file จะใช้ความรู้เรื่องนี้ในการบีบอัดเสียงด้วย คือมันจะลดปริมาณข้อมูล (ก็คือทิ้งข้อมูลไปบ้าง) ในช่วงประมาณ 15000 Hz (จุดนี้แล้วแต่ kbps ที่บีบอัดด้วย ถ้าใช้ bit rate มาก ก็จะทิ้งข้อมูลน้อย) ซึ่งทำงานโดยใช้ Model ของเสียงที่เป้นมาตรฐานของไฟล์ format ต่างๆ
แล้วก็จะลดข้อมูลในเสียงที่ไม่ค่อยได้ยิน เช่นเสียงที่โดนเสียงอื่นกลบทับ
เรามาว่าด้วยรายละเอียดคร่าวๆ ของ lossy file ต่างๆ ดีก่าคับ (ผมก็รู้ไม่ค่อยละเอียดเชิงลึก)
MP3
ใช้กันมาสิบกว่าปีแล้ว พัฒนาโดยสถาบันวิจัยของเยอรมัน เป็นลักษณะการบับอัดเสียงชนิดแรกที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั่วโลก
ปัจจุบัน ความสามารถน้อยกว่าไฟล์อื่นๆ ที่เกิดที่หลัง แต่ยังนิยม เพราะอุปกรณ์ส่วนใหญ่เล่นได้
ต่อมาพัฒนาเป็น MP3pro แต่ไม่ได้รับความนิยม เพราะค่าใช้สิทธิ์แพง
ปล. mp3 เป็นไฟล์ที่มีค่าใช้จ่ายในการใช้สิทธ์นะครับ
โปรแกรมเข้ารหัสไฟล์ MP3 ที่มีชื่อเสียงที่สุดคือ LAME
โปรแกรมหลายๆ ตัว ใช้ LAME เป็นโปรแกรมเข้ารหัส MP3 ให้ เช่น flash, dB poweramp
OGG
ไฟล์เพลงที่ผมใช้เป้นหลัก เหอๆ กว่าพันเพลงในเครื่องเป็นไฟล์นี้
พัฒนาโดยกลุ่มพัฒนาอิสระ ในนาม Vorbis เกิดขึ้นเมื่อไม่กี่ปีมานี้
ลักษณะ พิเศษคือเป็นไฟล์ที่เปิดให้ใช้ได้อย่างฟรีจริงๆ ใครเอาไปใช้ก็ได้ (จะให้ได้ว่าเกมส่วนใหญ่ใช้ไฟล์นี้เป้นเพลงในเกม) และให้คุณภาพเสียงที่ดี ใน bit rate ที่ต่ำกว่า mp3
เครื่องเล่น mp3 บางชนิดจะเล่นไฟล์นี้ได้
ตอนนี้ก็ยังพัฒนาต่อเรื่อยๆ โดยได้รับการปรับปรุงโค้ดตอนนี้โดยนักพัฒนาชาวญี่ปุ่นในนาม
Ogg aoTuV (ตอนนี้ถึง Beta5 แล้ว) ซึ่งทำให้เสียงดียิ่งขึ้นใน bit rate ต่ำๆ
WMA
Windows Media Audio
พัฒนาโดย microsoft ตอนนี้มาถึงรุ่น 9.2 ที่มาใน Windows media player 11 ครับ
จุดเด่นคือเสียงดีกว่า mp3 และมีระบบป้องกันลิขสิทธิ์ (DRM) จาก microsoft
แต่ผมไม่ชอบ เพราะมันไม่ฟรี และเล่นอะไรไม่ค่อยได้ เพราะมักจะถูกล็อกอยู่
AAC
Advance Audio Codec
หรือ MP4 ครับ เป้นาตรฐานที่ผมยังงงๆ เพราะมีมาตรฐานย่อยๆ เยอะ มีทั้ง HC และ LC ฯลฯ
Apple ใช้กับ iPod ครับ เพราะทางร้านขายเพลง iTune
เสียงดีครับ (รู้แค่นี้)
ไฟล์ Lossless บ้าง
WAV
ไฟล์มาตรฐาน ตั้งเดิม เก็บข้อมูลทุกอย่างของเสียงไว้ ไม่มีการบีบอัด ทำให้เสียงดี และไฟล์ใหญ่มากกกกกก
FLAC
Free Lossless Audio Codec
เป้นไฟล์ lossless ฟรี ชั้นดีตัวหนึ่ง ทำงานได้รวดเร็ว บีบอัดข้อมูลได้เยอะพอสมควร
บับเพลงจาก CD จะได้ bitrate ราวๆ 400 kbps กว่าๆ (ถ้า wav ใช้ที่ราวๆ 1411 kbps)
เสียงสมบูรณ์เหมือนเดิม แต่ขนาดเล็กลงมาก
ผมแนะนำให้ใช้แทนบีบเป็น MP3 ที่ 320 kbps ครับ เหอๆ
WavPack (.wv)
คล้ายๆ กับ FLAC แต่มีความสามารถต่างกันนิดหน่อย เช่น hybrid file, lossy with correction
ผมจะไม่อธิบายนะครับ เพราะความสามารถใกล้ๆ กับ FLAC
อธิบายคำศัพท์
kbps
kilobit per second
จำนวนบิตที่ส่งต่อ 1 วินาที
ยิ่งมาก ไฟล์ยิ่งใหญ่ เสียงยิ่งดี
CBR
Constant bit rate
จะเห็นได้ตอนแปลงไฟล์ครับ ก็คือใช้ bit rate คงที่ตลอดเวลา ไม่ว่าเสียงจะมีความซับซ้อนแค่ไหน
ข้อดีคือ ทำให้คำนวณพื้นที่ที่จะใช้ได้ง่ายครับ
VBR
Variable bit rate
bit rate แปรผัน ตรงข้ามกับ CBR ครับ
bit rate จะแปรผันกับความซับซ้อนของเสียง เช่นช่วงที่ไม่มีเสียง ก็จะใช้ bit rate ต่ำสุด
ผลก็คือใช้ bit rate ได้คุ้มค่ากว่าครับ
ไฟล์อย่าง ogg จะไม่มี CBR ให้เลือก เพราะมันรู้ดีกว่า VBR ดีกว่า เหอๆ
ReplayGain
เทคโนโลยีที่ช่วยปรับเสียงของทุกเพลงให้เท่ากัน
การจะเล่นไฟล์ต่างๆ ที่ว่ามา ถ้าใช้ windows media player ก็จะเล่นได้แค่ mp3, wma และอื่นๆ อีกนิดหน่อย
ถ้าอยากใช้ Media player เล่นไฟล์พวกนี้ ก็ต้องลงพวก k-lite codec pack ครับ
แต่มีทางเลือกที่ดีกว่านั้นเช่น foobar2000 โปรแกรมเล่นเพลงหน้าตาเรียบๆ ที่มีความสามารถที่ผู้คลั่งเสียงเพลงต้องหันมองเช่น
ReplayGain , แก้ไข tag เพลงได้หลายเพลง, แปลงไฟล์, เล่นไฟล์เพลงได้สารพัด
www.foobar2000.org
ถ้าอยากได้ตัว encoder ไฟล์เป็นแบบต่างๆ ก็ไปดูที่
http://www.rarewares.org/
ครับ
วันนี้รีบๆ มีอะไรตกหล่นก็ขออภัยด้วยนะครับ